"รู้ศักยภาพเพื่อพัฒนาดีกว่าเสียเวลาอยู่ในเขาวงกต"



รู้ศักยภาพเพื่อพัฒนากับ NST

 

การค้นหาศักยภาพสมองด้วยลายนิ้วมือ

เยื่อหุ้มสมองแบ่งเป็น 4 ส่วน ประกอบกับลายนิ้วมือ

มี 3 ประเภทหลัก (FBI) ซึ่งในที่นี้ยังไม่ร่วมถุงลายนิ้วปร่กฏอยู่ในสมองส่วนไหน ลักาณะพฤติกรรมจะแสดงออกมาอย่างชัดเจน


 

ช่วงการพัฒนาวิธีการเรียนรู้

      0-3  ปี  :  มองดูมาก  ฟังมาก  สัมผัสมาก

สร้างรากฐาน ( ช่วงการสร้างรูปแบบ ) การกระตุ้นจากการมองเห็น  การได้ยิน  การสัมผัส (ช่วงสร้างพื้นฐานที่เข้มแข็ง - ฮาร์แวร์ )

     4-8  ปี   :  ตั้งใจมองดู  ตั้งใจฟัง  ตั้งใจสัมผัส

สร้างเครือข่าย ( ช่วงสร้างโปรแกรม ) การพัฒนาการความแข้มแข็ง  การมองเห็น  การได้ยิน  การสัมผัส( ช่วงสร้างข้อมูล - ซอฟแวร์ )

     9-16  ปี  :  การมอง  การฟัง  การสัมผัส

สร้างระบบ ( ช่วงการปรับสภาพ ) การแปรสภาพภายในของจักษุสัมผัส  โสตสัมผัส  กายสัมผัส


ประโยชน์ของการค้นหาศักยภาพแฝง

      1.  การค้นหาศักยภาพแฝงเปรียบเสมือนการค้นหาขุมทรัพย์ซึ่งเป็นแผนที่ของสมอง

      2.  การสื่อสารกับลูกด้วยวิธีการเดิมๆ อาจไม่ได้ผล  การค้นหาศักยภาพแฝงของลูกทำให้คุณมีเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสม  โดยใช้วิธีการสื่อสารแบบใหม่  สามารถทำให้คุณเข้าใจลูกคุณเพิ่มขึ้น

      3.  ลูกของคุณมีความสุขในการเรียนรู้ตามศักยภาพแฝงที่ติดตัวมาตั้งแต่กำเนิด

     4.  ขุมทรัพย์ที่พบในวันนี้เป็นแนวทางที่ต้องการการส่งเสริม  รู้เร็วเพื่อพัฒนา  เหมาะกับช่วงเวลาของการพัฒนาการลูก


สมอง มีน้ำหนัก 1,300 - 1,400 กรัม ทำหน้าที่ครบคุม สิ่งการเคลื่อนไหว การแสดงออกทางพฤติกรรม การรับรู้ อารมณ์ ความจำ การเรียนรู้ ต่อมา ดร.ฮาโรลด์ คัมมิน (ค.ศ. 1926 ) พบว่า เด็กเริ่มพัฒนารูปร่างพร้อมกับลายนิ้วมือ นิ้วเท้า ช่วงอายุ 13 สัปดาห์ถึงอายุ 24 สัปดาห์ ลายนิ้วมือสมบูรร์ชัดเจน และไม่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดชีวิตศาสตราจารย์ Wilder Graves Penfield ( ค.ศ. 1950 ) เขียนบทความ The Cerbral cortex of Man พบว่าสมองใหญ่กับลายนิ้วมือมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน และ คร.โฮเวิร์ด  การ์ดเนอร์ (ค.ศ.1983) ค้นพบ พหุปัญญา 8 ด้าน  เป็นศักยภาพในการพัฒนาหลังกำเนิด  จากผลงานวิจัยพบว่าลายนิ้วมือมีความสัมพันธ์กับสมองใหญ่  ฉะนั้นนวัตกรรม DGPA  จึงเป็นเครื่องมือใหม่ล่าสุด  ที่ช่วยผู้ปกครองเข้าใจศักยภาพของลูก  พัฒนาลูกได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ



สนใจสอบถามข้อมูลได้ทุกวัน 

จันทร์- ศุกร์       เวลาทำการ    07:30 – 17:00  น. 

วันเสาร์  08:30 - 16:00 น. โทร   : 038-381506 

โทรสาร  : 038-383211                                

E-mail : pakdeepanchon@gmail.com

หรือรับข้อมูลเพิ่มเติม โดยกรอกข้อมูลติดต่อกลับ เช่น อีเมล,ชื่อ-นามสกุล, เบอร์โทรศัพท์, คำถามเพิ่มเติม ฯลฯ ที่แบบฟอร์มด้านล่าง